วันเสาร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2554

เคมีอินทรีย์

การตั้งชื่อและการการจัดหมวดหมู่
สารประกอบเคมีอินทรีย์ (organic compound) สามารถตั้งชื่อจัดหมวดหมู่ได้ดังนี้

[แก้] สารประกอบแอลิฟาติก (Aliphatic compounds)

เป็นสารประกอบที่มีอะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นโซ่ยาว (hydrocarbon chains) และไม่มีอะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นวงแหวน (aromatic systems) เลย ซึ่งได้แก่
  1. ไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon)
  2. แอลเคน (Alkane)
  3. แอลคีน (Alkene)
  4. ไดเอ็น หรือ แอลคาไดอีน (Dienes or Alkadienes)
  5. แอลไคน์ (Alkyne)
  6. แฮโลแอลเคน (Haloalkane)

[แก้] สารประกอบแอโรแมติก (Aromatic compounds)

เป็นสารประกอบที่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของโมเลกุลเป็นวงแหวน (aromatic systems) ซึ่งได้แก่
  1. เบนซีน (Benzene)
  2. โทลูอีน (Toluene)
  3. สไตรีน (Styrene)
  4. ไซลีน (Xylene)
  5. อะนิลีน (Aniline)
  6. ฟีนอล (Phenol)
  7. อะเซโตฟีโนน (Acetophenone)
  8. เบนโซไนไตรล์ (Benzonitrile)
  9. แฮโลอะรีน (Haloarene)
  10. แนฟทาลีน (Naphthalene)
  11. แอนทราซีน (Anthracene)
  12. ฟีแนนทรีน (Phenanthrene)
  13. เบนโซไพรีน (Benzopyrene)
  14. โคโรนีน (Coronene)
  15. อะซูลีน (Azulene)
  16. ไบฟีนิล (Biphenyl)

[แก้] สารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (Heterocyclic compounds)

เป็นสารประกอบที่มีวงแหวนที่ประกอบด้วยอะตอมต่างชนิด (heteroatom) กัน ซึ่งอะตอมเหล่านี้อาจเป็น ออกซิเจนไนโตรเจน ฟอสฟอรัส หรือกำมะถัน สารประกอบประเภทนี้ได้แก่
  1. อิมิดาโซล (Imidazole)
  2. อินโดล (Indole)
  3. ไพริดีน (Pyridine)
  4. ไพร์โรล (Pyrrole)
  5. ไทโอฟีน (Thiophene)
  6. ฟูแรน (Furan)
  7. พูรีน (Purine)

[แก้] ฟังก์ชันนัลกรุป (Functional groups)

  1. แอลกอฮอล์ (Alcohol)
  2. แอลดีไฮด์ (Aldehyde)
  3. สารประกอบอะลิไซคลิก (Alicyclic compound)
  4. อะไมด์ (Amide)
  5. อะมีน (Amine)
  6. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
  7. กรดคาร์บอกซิลิก (Carboxylic acid)
  8. เอสเตอร์ (Ester)
  9. อีเทอร์ (Ether)
  10. คีโตน (Ketone)
  11. ลิพิด (Lipid)
  12. เมอร์แคปแทน (Mercaptan)
  13. ไนไตรล์ (Nitrile)

[แก้] พอลิเมอร์ (Polymers)

พอลิเมอร์เป็นโมเลกุลชนิดพิเศษมีขนาดใหญ่ประกอบด้วยโมเลกุลย่อยๆ ต่อเรียงกัน ถ้าโมเลกุลย่อยเป็นชนิดเดียวกันจะเรียกพอลิเมอร์นี้ว่า"โฮโมพอลิเมอร์" (homopolymer) และถ้าโมเลกุลย่อยเป็นต่างชนิดกันจะเรียกพอลิเมอร์นี้ว่า"เฮตเทอโรพอลิเมอร์" (heteropolymer) พอลิเมอร์จำแนกได้ดังนี้
  1. พอลิเมอร์ประเภทสารอินทรีย์ได้แก่
    1. พอลิเอทไทลีน (polyethylene)
    2. พอลิโพรไพลีน (polypropylene)
    3. เพลกซิกลาซส์ (Plexiglass) , ฯลฯ
  2. พอลิเมอร์ประเภทสารอนินทรีย์ได้แก่
    1. ซิลิโคน (silicone)
  3. พอลิเมอร์ชีวภาพไบโอพอลิเมอร์ (biopolymers)
    1. โปรตีน (proteins)
    2. นิวคลิอิกแอซิด (nucleic acids)
    3. พอลิแซกคาไรด์ (polysaccharides)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น