โมเลกุลมีพลังงานจลน์สูงกว่าค่าพลังงานกระตุ้นเมื่อชนกันแล้วจะเกิดเป็นผลผลิตทุกครั้ง
บางปฏิกิริยาความเข้มข้นของสารตั้งต้นไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาคืออัตราการชนของโมเลกุลสารตั้งต้น
อัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยาดูดความร้อนจะช้าลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
2. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา A+B ----> 2C คือ 250 kg/mol และ
พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา 2C---->A+B คือ 220 kg/mol ดังนั้นปฏิกิริยาของ A+B---->2C เป็นปฏิกิริยา
ดูดความร้อน 30 kg/mol
คายความร้อน 30 kg/mol
ดูดความร้อน 250 kg/mol
คายความร้อน 250 kg/mol
3. การทดลองในข้อใด ที่มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุดที่อุณหภูมิเดียวกัน
ใส่แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/L
ใส่สังกะสีผงละเอียดหนัก 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/L
ใส่แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนัก 0.5 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/L
ใส่สังกะสีผงละเอียดหนัก 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/L
4. ปฏิกิริยา A ------> B มี Ea ไปข้างหน้า = 150 ย้อนกลับ = 120 จงหา
5. จากปฏกิริยาเคมี 2A + B ---> 1/2 C + D อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้เท่ากับข้อใด
อัตราการลดลงของ A = 4 เท่าของอัตราการเกิดของ C
อัตราการลดลงของ B = 2 เท่าของอัตราการลดลงของ A
อัตราการลดของ B = 1/2 เท่าของอัตราการเกิดของ C
อัตราการลดลงของ A = อัตราการเกิดของ D
6. ปฏิกิริยาเติมก๊าซไฮโดรเจนแก่สารอินทรีย์แทบจะไม่เกิดขึ้นเลย ถ้าไม่เติมผงนิกเกิลลงไปในปฏิกิริยา และเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาแล้วจะได้นิกเกิลเหมือนเดิม ผงนิกเกิลมีผลต่อปฏิกิริยาอย่างไร
ลดพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา
เพิ่มความสามารถในการผสมเป็นเนื้อเดียวกันของสารที่ทำปฏิกิริยา
เพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่โมเลกุลของสารตั้งต้น
ทำให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น จึงมีการชนกันมากขึ้น
7. เมื่อนำสารละลายแอมโมเนียมาใส่ในขวดรูปชมพู่ เขย่าเล็กน้อย แล้วนำลวดพลาตินัมที่อุ่นให้ร้อนหย่อนลงไปในขวดเหนือระดับของเหลว พบว่าลวดพลาตินัมร้อนแดงขึ้น ข้อสรุปผลการทดลองนี้ข้อใดถูกต้อง
1.แอมโมเนียถูกออกซิไดส์โดยออกซิเจนในอากาศ
2.ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
3.ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
4.ลวดพลาตินัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ก และ ง
ก ค และ ง
ก และ ข
ก ข และ ง
8. Catalyst ไม่มีผลต่อข้อใดต่อไปนี้
วิธีดำเนินไปของปฏิกิริยา
ค่าความร้อนที่ดูดหรือคายของปฏิกิริยา
ค่า Ea ของปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยา
9. การทดลองในข้อใด ที่มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุดที่อุณหภูมิเดียวกัน
ใส่แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/L
ใส่สังกะสีผงละเอียดหนัก 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/L
ใส่แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนัก 0.5 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/L
ใส่สังกะสีผงละเอียดหนัก 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/L
10. ปฏิกิริยา A + 2B ---------> D เกิดจากปฏิกิริยา 2 ขั้น
ขั้นที่ 1 A + B ----------> C มีค่า Ea = 50
ขั้นที่ 2 C + B ----------> D มีค่า Ea = 30
ขั้นใดจะเป็นขั้นกำหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยา เพราะอะไร
A + B ----------> C เพราะปฏิกิริยานี้เกิดช้า จึงเป็นขั้นกำหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยา
C + B ----------> D เพราะปฏิกิริยานี้เกิดเร็ว จึงเป็นขั้นกำหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยา
C + B ----------> D เพราะปฏิกิริยานี้เกิดช้า จึงเป็นขั้นกำหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยา
A + B ----------> C เพราะปฏิกิริยานี้เกิดเร็ว จึงเป็นขั้นกำหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยา
11. ปฏิกิริยา A ------> B มี Ea ไปข้างหน้า = 150 ย้อนกลับ = 120 จงหา
12. คำตอบที่ดีที่สุดสำหรับการอธิบายว่า เมื่ออุณหภูมิของระบบสูงขึ้นเล็กน้อยอัตราการเกิดปฏิกิริยา มักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วคือข้อใด
พลังงานจลน์ของโมเลกุลเพิ่มขึ้น
พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
จำนวนครั้งของการชนเพิ่มขึ้น
สัดส่วนของโมเลกุลที่มีพลังงานมากกว่าหรือเท่ากับพลังงานกระตุ้นมีมากขึ้น
13. ปฏิกิริยาหนึ่งสามารถหา Rate ของปฏิกิริยาได้จาก 1/2 เท่าของ Rate A ที่ลดลงหรือ 3 เท่าของ Rate B ที่ลดลงหรือ 2 เท่าของ Rate C ที่เกิดขึ้น จงหาปฏิกิริยาที่เกิด
2A ----> 1/3B + 1/2C
1/2A ----> 3B + 2C
1/2A + 2B ----> 3C
1/2A + 3B ----> 2C
14. กลไกของปฏิกิริยา Oxidation จาก ได้จากปฏิกิริยา 2 ขั้น คะตะไลท์ของปฏิกิริยานี้คือข้อใด
15. จากภาพต่อไปนี้ สารใดคือสารมัธยันต์และสารเชิงซ้อนถูกกระตุ้นตามลำดับ
สาร Q และสาร R
สาร C และสาร R
สาร A และสาร S
สาร B และสาร C
16. ปัจจัยใดต่อไปนี้มีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง ก.การเพิ่มปริมาณสารตั้งต้น ข.การลดอุณหภูมิและความดัน ค.การเติมเอนไซม์ ง.การใช้สารลักษณะที่เป็นก้อนแทนสารที่เป็นผง
ก และ ข
ก และ ง
ค และ ง
ข และ ง
17. การใช้เหล็กในปฏิกิริยากระบวนการผลิตแอมโมเนียจากก๊าซไนโตรเจน และไฮโดรเจนนั้นสามารถทำให้ได้อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงขึ้น เนื่องจากเหตุใด
เหล็กช่วยดูดซับก๊าซแอมโมเนียที่เกิดขึ้น ทำให้ปฏิกิริยาเกิดการเปลี่ยนแปลงไปทางด้านผลิตภัณฑ์มากขึ้น
เหล็กช่วยตรึงไนโตรเจนเพิ่มเติมจากอากาศเข้ามาร่วมเกิดปฏิกิริยา
เหล็กทำให้พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยานี้ต่ำลง
เหล็กทำให้อุณหภูมิของระบบสูงขึ้น และเพิ่มความสามารถในการผสมเป็นเนื้อเดียวของไนโตรเจนกับไฮโดรเจน
18. ปฏิกิริยาระหว่างผงเหล็กกับออกซิเจนในอากาศเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน การเปลี่ยนแปลงในข้าใดต่อไปนี้ ควรทำให้ปฏิกิริยาดังกล่าว เกิดขึ้นเร็ว
ลดสัดส่วนของแก๊สไนโตรเจนต่อแก๊สออกซิเจนในอากาศ
เพิ่มขนาดอนุภาคของผงเหล็ก
ลดอุณหภูมิของผงเหล็ก
ผสมสังกะสีลงในผงเหล็ก
19. ของเหลวใส 2 ชนิด ต่างก็ไม่มีสีและกลิ่น ของเหลวชนิดหนึ่งเป็นสารบริสุทธิ์ และอีกชนิดหนึ่งเป็นสารละลาย การทดสอบใดใช้จำแนกของเหลวทั้งสองได้
ระเหยแห้ง
วัดความหนาแน่น
วัดจุดเดือด
ทำทั้ง 3 วิธี แล้วนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน
20. จากปฏิกิริยา
เพิ่มขึ้น
คงที่
ลดลง
ต้องทราบว่าปฏิกิริยาดูดหรือคายพลังงานจึงจะพิจารณาได้
21. ปรากฏการณ์ข้อใดที่คายพลังงาน
ทาแอลกอฮอล์บริเวณผิวหนังแล้วรู้สึกเย็น
เทไนโตรเจนเหลวบนพื้นเวทีเพื่อให้เกิดควันขาว
ใส่เม็ดเกลือบนน้ำแข็งในถึงทำไอศกรีมทำให้อุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศา
การเกิดหยดน้ำเกาะที่กระจกด้านนอกห้องที่เปิดเครื่องปรับอากาศ
22. ตามทฤษฏีการชนกันของโมเลกุลและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ข้อใดที่เป็นขั้นกำหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยารวม
ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดำเนินไปช้าที่สุด
ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดำเนินไปเร็วที่สุด
ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นแรก
ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นสุดท้าย
23. ในการทดลองวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะอะลูมิเนียมกับสารละลายไฮโดรคลอริกโดยจับเวลา ที่เก็บแก๊สได้ทุกๆ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร นำข้อมูลมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สไฮโดนเจนกับเวลา แล้วหาค่าความชันของกราฟ ณ เวลา 50 100 150 200 และ 300 วินาที ถ้าผลการทดลองถูกต้อง ความชันของกราฟ ณ เวลาใดที่สูงที่สุด
50 วินาที
150 วินาที
200 วินาที
300 วินาที
24. แฟกเตอร์ที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีคือ
ความเข้มข้นของสารละลาย ความดัน ตัวคะตะเลส พันธะโควาเลนต์
พันธะโควาเลนต์ อุณหภูมิ ความเข้มข้นของสารละลาย ความดัน
อุณหภูมิ ความเข้มข้นของสารละลาย พื้นที่ผิว ตัวคะตะเลส
อุณหภูมิ พันธะโควาเลนต์ พื้นที่ผิว ตัวคะตะเลส
25. ปัจจัยที่สำคัญที่เป็นตัวกำหนดว่าทำไมธรรมชาติของสารตั้งต้นจึงมีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ความแตกต่างของขนาดโมเลกุล
ความแตกต่างของพันธะที่เกี่ยวข้องในการเกิดปฏิกิริยา
ความแตกต่างของมวลโมเลกุล
ความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์
26. การกระทำใดไม่มีผลต่ออัตรการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การนำเนื้อหมูแช่ในช่องแช่แข็ง
ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ช่วยในการบ่มมะม่วง
การเคี้ยวยาลดกรดชนิดเม็ดให้ละเอียดก่อนกลืน
การเปลี่ยนขนาดภาชนะที่บรรจุสารละลายที่ทำปฏิกิริยา
27. ถ้าใช้แผ่นโลหะแมกนีเซียมที่มีขนาดเป็นแผ่นใหญ่ขึ้น กราฟที่ได้จะมีลักษณะอย่างไร
กราฟจะเป็นเส้นตรง
กราฟจะมีลักษณะอยู่ในตำแหน่งเดิม
กราฟจะชันมากขึ้นและสูงกว่ากราฟเดิม
กราฟจะชันน้อยลงและอยู่ตำกว่ากราฟเดิม
28. ใส่แท่งโลหะสังกะสีรูปทรงกลม 1 cm3 ลงในกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1
พื้นที่ผิวของ Zn
ปริมาตรของ Zn
ปริมาตรของ HCL
ความเข้มข้นของ HCl
29. ข้อใดเป็นเหตุผลที่ถูกต้องที่สุดเพื่อแสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขี้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
โมเลกุลของสารตั้งต้นชนกันมากขึ้น
จะทำให้ความดันเพิ่มขึ้น
ทำให้พลังงานกระตุ้นเพิ่มขึ้น
โมเลกุลบางส่วนมีพลังงานสูงเกิดขึ้น
30. การที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นนั้นเป็นเพราะเหตุใด
โมเลกุลชนกันบ่อยครั้ง เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
โมเลกุลชนกันแรงขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
โมเลกุลมีพลังงานสูงพอที่จะเกิดปฏิกิริยา มีจำนวนมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
พันธะในโมเลกุลของสารตั้งต้นจะถูกทำลายได้ง่ายเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
31. เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นด้วย เพราะเหตุผลข้อใด
จำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่าสารกระตุ้น เพิ่มมากขึ้น
โมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้น ชนกันมากขึ้น
จำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้น เพิ่มมากขึ้นและมีการชนกันมากขึ้น
โมเลกุลทั้งหมดของสาร ตั้งต้นมีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้น และชนกันมากขึ้นอย่างถูกทิศทาง
32. คำตอบที่ดีที่สุดสำหรับอธิบายว่า เมื่ออุณหภูมิของระบบเพิ่มขึ้นเล็กน้อยอัตรการเกิดปฏิกิริยามักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วคือข้อใด
จำนวนครั้งของการชนมากขึ้น
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลเพิ่มขึ้น
สัดส่วนของโมเลกุลที่มีพลังงานกมากกว่าหรือเท่ากับพลังงานกระตุ้นมีมากขึ้น
พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยามีมากขึ้น
33. ข้อใดมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน
เพิ่มอุณหภูมิ ลดความดัน
เพิ่มพื้นที่ผิว ใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา
เพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้น เพิ่มพลังงานก่อกัมมันต์
เพิ่มพื้นที่ผิว เพิ่มขนาดภาชนะที่บรรจุ
34. โดยทั่วไปอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เท่า เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ 10 องศาในการทดลองหนึ่งสารตัวอย่างของโพแทสเซียมคลอเรตสลายตัว 90 % โดยมวลในเวลา 20 นาที ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ 20 องศา สารตัวอย่างดังกล่าวจะใช้เวลาในการสลายกี่นาที
2.5
5
10
15
35. หน้าที่ตัวเร่งของปฏิกิริยาคือข้อใด
ลดความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
เพิ่มพลังงานให้กับโมเลกุลของระบบ
ลดพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา
ช่วยเพิ่มจำนวนครั้งของการชนกันของโมเลกุลของสารตั้งต้น
36. ปฏิกิริยาแก๊สไฮโดรเจนแก่สารอินทรีย์แทบจะไม่เกิดขึ้นเลย ถ้าไม่เติมผงนิกเกิลลงไปในปฏิกิริยาและสิ้นสุดปฏิกิริยาแล้ว จะได้ผงนิกเกิลเหมือนเดิม ผงนิกเกิลมีผลต่อปฏิกิริยาอย่างไร
เพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่โมเลกุลของสารตั้งต้น
ลดพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา
เพิ่มความสามารถในการผสมเป็นเนื้อเดียวกันของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา
ลดความแตกต่างระหว่างระดับพลังงานของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
37. ณ อุณหภูมิหนึ่ง ก สลายตัวให้ ข ร้อยละ 90 โดยนำหนักใช้เวลา 40 นาที เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 องศา อัตราการสลายตัวจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า ถ้าต้องการให้ ก สลายตัวไปร้อยละ 90 โดยน้ำหนักในเวลาเพียง 10 นาที จะต้องเพิ่มอุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
10
20
30
40
38. ปฏิกิยา A(aq) + B(aq) ---->C(aq) + D(aq) เป็นปฏิกิริยาความร้อน ข้อใดผิด
ถ้าลดอุณหภูมิ อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลง
ถ้าเติมตัวเร่งปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น
ถ้าเติม A อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น
ถ้าเติม C อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลง
39. สาร X สามารถสลายตัวได้ดังสมการ 3X 5Y + 6Y เมื่อวัดความเข้มข้นของสาร X ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาการสลายตัว พบว่า ได้ข้อมูลดังตารางต่อไปนี้
0.15
0.25
0.85
1.42
40. .ถ้าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาทั้งสองต่อไปนี้มีค่าเท่ากัน
อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่50
อัตราของทั้งสองปฏิกิริยาเท่ากัน เพราะ
อัตราของปฏิกิริยา (1) สูงกว่าของ (2) เพราะ
อัตราของปฏิกิริยา (2) สูงกว่าของ (1) เพราะ
อัตราของปฏิกิริยา (2) สูงกว่าของ (1) เพราะ
41. กำหนดให้ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาต่อไปนี้ ที่อุณหภูมิ มีค่า a, b และ c ดังนี้
a + c - b
a + 2c - b
ac / b
ac2/b
42. ปฏิกิริยา
1/4
2
3
4
43. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้
,
ถ้าใช้สารตั้งต้น 1 g สารตั้งต้นตัวใดเกิดปฏิกิริยาให้แก๊ส มากที่สุด
44.
45. จากการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาโดยการจับเวลาตั้งแต่เริ่มต้นตั้งจนปฏิกิริยาสิ้นสุดที่อุณหภูมิต่างๆกัน
พบว่าได้ผลดังนี้
8
10
12
16
46. อัตราเร็วของปฏิกิริยาไปข้างหน้าในสมการ
47. สำหรับปฏิกิริยา
48. ปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังกราฟนี้ ควรมีลักษณะอย่างไร
ขั้นที่1 | ขั้นที่2 | ขั้นที่3 | |
1 2 3 4 | เกิดเร็ว คายพลังงาน เกิดเร็ว คายพลังงาน เกิดช้า ดูดพลังงาน เกิดเร็ว คายพลังงาน | เกิดช้า คายพลังงาน เกิดเร็ว คายพลังงาน เกิดเร็ว ดูดพลังงาน เกิดช้า คายพลังงาน | เกิดเร็วปานกลาง ดูดพลังงาน เกิดช้า ดูดพลังงาน เกิดช้า คายพลังงาน เกิดเร็วปานกลาง คายพลังงาน |
I , II และ III เท่านั้น
I และ II เท่านั้น
II และ IV
IV เท่านั้น
50. ในปฏิกิริยา A ----> B ----> C มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังนี้
เกิดปฏิกิริยา 2 ขั้น และเกิดสาร B ขึ้นมากพอๆกับสาร C
ปฏิกิริยา A ----> B เกิดได้เร็ว ปฏิกิริยา B ----> C เกิดได้ช้า
เกิดปฏิกิริยา 2 ขั้นตอนน แต่สาร B กลายเป็นสาร C จนหมด
ผลิตภัณฑ์สุดท้ายคือสารB เพียงชนิดเดียว
แนวข้อสอบเรื่องปฏิกิรนิยาเคมีดีจัง อ่านแล้วสามาถรนำไปใช้ในการสอบครั้งไปได้ด้วย.....อิอิ
ตอบลบคล้ายๆๆ กับข้อสอบที่เคยสอบเลย....
ตอบลบโห...แนวข้อสอบเยอะแบบนี้คงจะเข้าใจมากขึ้นน่ะ
ตอบลบมีเฉลยมั้ยครับ
ตอบลบ